Product Description
วัสดุดูดซับสารเคมี มีอะไรบ้าง
วัสดุดูดซับสารเคมี นั้นมีหลากหลายรูปแบบและการใช้งานของวัสดุดูดซับนั้นก็จะแตกต่างกันไปตามรูปร่างของสินค้าที่ผู้ผลิตออกแบบ
มาตามวัตถุประสงค์ เช่น วัสดุดูดซับสารเคมีแบบแผ่นเหมาะส าหรับพื้นที่เรียบไม่ขรุขระเพื่อให้พื้นที่ผิวสัมผัสของแผ่นดูดซับท างานได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ
วัสดุดูดซับสารเคมีคืออะไร
วัสดุส าหรับดูดซับสารเคมี คืออุปกรณ์ที่ใช้เมื่อเกิดอุบัติเหตุการหกหรือรั่วไหลของสารเคมีที่มีลักษณะเป็นของเหลว หรือใช้เพื่อเพิ่มความ
สะอาด ในพื้นที่ๆมีการเปรอะเปื้อนของน ้า น ้ามัน หรือสารเคมีเป็นประจ า ช่วยลดและป้องกันอุบัติเหตุได้เป็นอย่างดี
ท าไมต้องใช้วัสดุดูดซับสารเคมี
ในโรงงานอุตสาหกรรม ห้องแล็ป หรือหน้างานที่มีการใช้สารเคมีในการปฏิบัติงาน จ าเป็นต้องการมาตรการในการควบคุมการรั่วไหลของ
สารเคมี ซึ่งจะมีการป้องกันในขั้นแรกคือป้องกันการหกล้นรั่วไหล เช่นถาดหรือพาเลทรองรับ แต่หากเกิดเหตุสุดวิสัย สารเคมีหกเปรอะเปื้อน เราไม่
สามารถท าความสะอาดแบบทั่วไปได้ เพราะจะท าให้สารเคมีรั่วไหลปะปนไปกับแหล่งน ้า จึงต้องใช้อุปกรณ์ดูดซับ เพิ้อดูดซับสารเคมีเหล่านั้น และ
น าวัสดุดูดซับที่ใช้แล้วไปก าจัดอย่างถูกวิธีต่อไป
วัสดุดดู ซับสารเคมีมีกี่รูปแบบ
วัสดุดูดซับมีทั้งแบบ ท่อน (Sock) แผ่น (Mat) หมอน (Pillow) และแบบผง (Clay Dust) ซึ่งแต่ละแบบก็จะเหมาะสมกับหน้างานคนละ
แบบ แต่จุดประสงค์เดียวกันคือยับยั้งและดูดซับสารเคมีดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานเรามาท าความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของวัสดุดูดซับแต่ละ
แบบ ดังนี้
1. แบบแผ่น (Pad & Roll)
รูปทรงอาจจะมีความแตกต่างกันแต่เมื่อต้องน ามาใช้งานแล้วลักษณะ
การใช้งานจะเหมือนกันเนื่องจากแบบแผ่นและแบบม้วนเหมาะส าหรับพื้นที่
เรียบไม่ขรุขระจะดีที่สุดเพราะแผ่นดูดซับจะท างานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
และสามารถแบ่งใช้ได้ตามความต้องการหรือตามปริมาณการหกรั่วไหลของ
สารเคมี
2. แบบท่อน (Sock & Boom)
เหมาะส าหรับงานปิดล้อมเมื่อเกิดเหตุการณ์สารเคมีหกรั่วไหลเพื่อ
ป้องกันการแผ่กระจายของของเหลวและง่ายต่อการควบคุม ลดความเสี่ยงใน
การไหลลงสู่แหล่งน ้า เก็บกู้ได้อย่างปลอดภัยสามาถใช้ได้ทั้งบนบกและในน ้า
ถ้าเป็นชนิดที่ดูดซับเฉพาะน ้ามัน เช่น พื้นที่ภายในโรงงานอุตสาหกรรม
บริเวณรอบเครื่องจักรและสถานที่จัดเก็บสารเคมีต่างๆ บ่อบ าบัดน ้าเสีย ในทะเล เป็นต้น
3. แบบหมอน (Pillow)
เหมาะส าหรับใช้งานในพื้นที่หรือบริเวณที่ยากต่อการเข้าถึงและวัสดุดูดซับแบบ
แผ่นไม่สามารถใช้งานได้ เช่น พื้นที่ที่มีการหกรั่วไหลอาจไม่ใช่พื้นผิวที่เรียบและต้องการการ
ดูดซับของเหลวจ านวนมากซึ่งวัสดุดูดซับแบบแผ่นไม่เพียงพอต่อความต้องการ สามารถใช้
งานได้ดีโดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่ที่แคบเพราะวัสดุดูดซับแบบหมอนสามารถปรับเปลี่ยน
รูปทรงได้ตามพื้นที่ที่ต้องการใช้งาน
4. แบบเม็ด (Granular)
วัสดุดูดซับชนิดนี้สามารถผลิตได้จากวัตถุดิบหลากหลายประเภท
เช่น วัตถุดิบที่มีส่วนผสมของเส้นใยพืช ,กระดาษรีไซเคิล หรือส่วนผสมของ
ซังข้าวโพด เป็นต้น วัสดุดูดซับแบบเม็ดเหมาะส าหรับใช้โรยทับสารเคมี
โดยตรงหากเกิดเหตุการณ์สารเคมีหกล้นขึ้น เพื่อดูดซับสารเคมีที่มีความข้น
หนืดบนพื้นและยากต่อการก าจัด
วัสดุดูดซับสารเคมีสามารถแบ่งประเภทของสีตามการใช้งานได้ดงันี้
1. สีเทา ส าหรับใช้ดูดซับน ้ามัน สารละลายต่างๆและน ้า เหมาะส าหรับดูดซับน ้ามันทั่วไป และสารเคมีของเหลวหลายประเภท
2. สีขาว ส าหรับดูดซับเฉพาะน ้ามัน
3. สีเหลือง ส าหรับดูดซับสารเคมีประเภทกรดด่าง และของเหลวไม่ทราบประเภท เหมาะส าหรับสารเคมีอันตราย กรดและด่างต่างๆ
เราสามารถเลือกใช้วัสดุดูดซับที่เหมาะสมกับหน้างานเราได้เพื่อความสะอาดและลดอุบัติเหตุ รวมถีงการรั่วไหลของสารเคมีสู่แหล่งน ้า
ธรรมชาติดังนั้นการใช้วัสดุดูดซับรูปแบบต่างๆนั้น ควรศึกษาและท าความเข้าใจตามคู่มือแนะน า ควบคู่กันไป เพราะจะท าให้สามารถงานใช้ได้
อย่างรวดเร็วและถูกต้องหากเกิดเหตุการณ์ขึ้นเพื่อให้ได้ผลและประสิทธิภาพสูงสุดของวัสดุดูดซับ